"SCAM Center รู้ทันภัยกลโกง" ขอต้อนรับทุกท่านเข้าสู่อาณาจักรความรู้ในเรื่องภัยกลโกงที่ต้องระวัง
พบกับเรื่องราวกลโกงการลงทุน ที่บางคนอาจเคยพบเจอมาแล้ว หรือบางคนอาจจะพบเจอได้ในอนาคต เราได้รวบรวมภัยกลโกงหรือหลอกลวงลงทุนไว้ในที่เดียว ติดอาวุธความรู้เป็นเกราะป้องกัน เพราะกลโกงอาจจะมา "กล้ำกราย" โดยไม่รู้ตัว!
ตัวอย่างความรู้กลโกงที่คุณจะได้รับ ณ ที่แห่งนี้
- ลักษณะของกลโกงแต่ละแบบ
- รูปแบบการชักชวนลงทุนที่ต้องระวัง
- แจ้งเบาะแส/ร้องเรียนกับใครที่ตรงกับบทบาทหน้าที่
- สื่อความรู้ที่สามารถแชร์ต่อได้
เริ่มเรียนรู้กันเลย START!
เตือนภัยหลอกลงทุน อย่าหลงเชื่อ! มิจฉาชีพแอบอ้างเป็นผู้แนะนำการลงทุน (IC) ไปรู้ทันกับ 5 พฤติกรรม และวิธีป้องกันตนเอง
จากข่าวการถูกหลอกให้ลงทุน จะเห็นได้ว่ามิจฉาชีพมักใช้กลโกงด้วยวิธีการที่คล้ายกัน สังเกตกลโกงเหล่านั้นได้ง่าย ๆ เพียงแค่จำสัญญาณเตือนภัย “5 เว่อ” ต่อไปนี้
6 สัญญาณเตือนภัยว่า คุณกำลังเจอกลโกงการลงทุน ขอให้ประชาชนโปรดอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่งต่อหรือแชร์ข้อมูล
ภัยกลโกงไม่เข้าใครออกใคร บางทีอาจมาถึงตัวเราง่าย ๆ ผ่านการชักชวนให้ร่วมเป็นเจ้าของกิจการด้วยการถือหุ้น แต่จะง่ายแบบนั้นจริงหรือ?
อย่าเพิ่งเชื่อ หากถูกชวนเทรดหุ้นหรือคริปโท เพราะอาจจะเป็น "แชร์ลูกโซ่" หลอกลงทุนก็ได้
Check First ตรวจสอบให้แน่ใจ นี่ใช่มิจฉาชีพหลอกลงทุนหรือไม่ เพราะมิจฉาชีพอาจแอบอ้างชื่อหรือโลโก้ ก.ล.ต. และหน่วยงานในตลาดทุนมาชักชวน
6 ข้อ เช็กก่อนเชื่อ ไม่ตกเป็นเหยื่อมิจฉาชีพ ที่ทำภาพชักชวนลงทุน เช่น เทรดหุ้น อ้างว่าได้รับการรับรอง พาไปดูจุดสังเกตว่ามาแบบนี้หลอกลวงแน่นอน
กลโกงหลอกให้รัก หรือ Romance Scam มีลักษณะเป็นอย่างไรไปดูกัน
กลโกง "เหล้าเก่าในขวดใหม่" หลอกซื้อขายคริปโทหรือสินทรัพย์ดิจิทัลที่พบบ่อย ไปดูกรณีศึกษา มิจฉาชีพเข้าหาอย่างไรบ้าง ไปรู้ให้ทัน
มิจฉาชีพมักเข้ามาหลอกลวง/ชักชวนลงทุนผ่านออนไลน์แบบไหน และมีเคล็ดลับปกป้องตนเองจากภัยกลโกงอย่างไร ชวนมาเรียนรู้ 6 เคล็ดลับลงทุนออนไลน์ไม่ให้ถูกหลอกกันที่นี่
จะลงทุนเช็กให้ชัวร์ เพราะมิจฉาชีพมักใช้สินทรัพย์หรือผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในกระแสมาล่อใจ ยิ่งซับซ้อนเท่าไหร่ยิ่งดึงดูด รู้ระวังไม่ให้ตกเป็นเหยื่อ
กลโกงที่มีโอกาสพบในโลกสินทรัพย์ดิจิทัล เพื่อให้รู้เท่าทันและไม่ตกเป็นเหยื่อกลโกงเหล่านี้ เพราะรู้อะไร ไม่เท่ารู้งี้..
หากพบเจอการชักชวน 5 รูปแบบนี้ ให้ระวังไว้ก่อนเลย
เพราะคนชวนอาจเป็นมิจฉาชีพหลอกลวงลงทุนก็ได้
ปัจจุบันพบเจอข่าวการหลอกลวงโดยแอบอ้างเรื่องของการลงทุนแทบทุกวัน มาสังเกตลักษณะคำชวนที่มักใช้หลอกลวงบ่อยๆ อย่าเพิ่งหลงเชื่อ หากคุณไม่อยากตกเป็นเหยื่อ
+++++
กลโกงเว็บไซต์หลอกลวง
รู้ทันกลโกงเว็บไซต์หลอกลวงลงทุนที่คุณต้องรู้ เราจำลองมาให้แล้ว 4 รูปแบบ พร้อม Tips ข้อสังเกตในแต่ละจุด เพียงแค่นำเม้าส์ไปชี้ในจุดที่ไฮไลท์ ความจริงจะปรากฏ ลองดูสิ..



+++++
แจ้งเบาะแส/ร้องเรียน
เมื่อพบการชักชวนชวนระดมทุนหรือลงทุนที่อ้างผลิตภัณฑ์ที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต. เช่น หุ้น คริปโท สินทรัพย์ดิจิทัล แจ้งเบาะแสมาที่ศูนย์บริการประชาชน ก.ล.ต. ได้แก่
ทั้งนี้ หากเรื่องใดที่ไม่อยู่ในอำนาจ ก.ล.ต. ก็จะประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
.
.
หรือท่านสามารถแจ้งเบาะแส/ร้องเรียนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง เพื่อให้การดำเนินการรวดเร็วยิ่งขึ้น
+++++
Check First ตรวจสอบให้แน่ใจ นี่ใช่มิจฉาชีพหลอกลงทุน?

รู้ระวังภัยกลโกงในแบบคลิปวิดีโอ (แชร์ต่อได้เลย)
รับมือกับเหล่าลงทุนเว่อออ! จะได้ไม่เผลอลงทุน มาร่วมกันถล่มเหล่าวายร้ายพวกนี้ให้สิ้นซาก!
รับมือกับเหล่าลงทุนเว่อออ! จะได้ไม่เผลอลงทุน มาร่วมกันถล่มเหล่าวายร้ายพวกนี้ให้สิ้นซาก!
แอปพลิเคชัน SEC Check First เป็นผู้ช่วยในการตรวจเช็กข้อมูลบุคคล นิติบุคคล และผลิตภัณฑ์การลงทุนได้ชัดเจนว่าอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต.
เตือนภัยให้ฉุกคิด กลโกงสุดแนบเนียน ที่มาในโลกออนไลน์ ติดอาวุธให้คนไทยรู้ทันภัยกลโกงจากแก๊งมิจฉาชีพหลอกลวงให้ลงทุน
กลโกงที่เล่นกับความรักและความรู้สึก โดยจะชักชวนผ่านทางการแชทสนทนาให้เชิงรักใคร่ อาจจะพบเจอหรือไม่เคยเจอกับอีกฝ่ายเลยก็ได้ เมื่อเหยื่อตายใจและหลงรักก็มาชักชวนลงทุน
มาอย่างนี้..หลอกกันชัวร์ ๆ สังเกตให้ดีใครมาชวนลงทุนด้วย 5 วิธีเหล่านี้ สงสัยไว้ก่อนเลยว่า "กำลังถูกหลอก" พิเศษด้วยเวอร์ชั่นเสียงท้องถิ่น 4 ภาค
ร่วมเรียนรู้ "คริปโท 101" ในหัวข้อ "ระวังถูกหลอกให้ซื้อขายคริปโท" มาสร้างภูมิคุ้มกัน รู้ทันกลโกง ก่อนซื้อขายคริปโท กับนายกสมาคมสินทรัพย์ดิจิทัลไทย คุณศุภกฤษฎ์ บุญสาตร์
มิจฉาชีพมักจะชักชวนในรูปแบบไหน ใช้คริปโทหลอกลวงมาหลอกลวงอย่างไร เข้าใจง่าย ๆ กับ พ.ต.อ.ปองพล เอี่ยมวิจารณ์
เจ้าของเพจ Blockchain Review คุณพีรพัฒน์ หาญคงแก้ว จะไล่เรียงกลโกงสินทรัพย์ดิจิทัลตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กระตุกต่อมคิดเท่าทันกลโกงในรูปแบบใหม่ ๆ
เสริมภูมิคุ้มกันไม่ให้ถูกหลอกลวงจากกลโกงใหม่ ๆ พร้อมแนวคิดการลงทุนดี ๆ โดย คุณศุภกฤษฎ์ บุญสาตร์ นายกสมาคมสินทรัพย์ดิจิทัลไทย พี่บิทคนดีคนเดิม
รู้ทัน ไม่ตกเป็นเหยื่อมิจฉาชีพ รู้จักระมัดระวังตนเองกับเว็บไซต์จำลองรูปแบบการชักชวนลงทุนที่พบบ่อย 4 รูปแบบ
เคล็ดลับที่จะทำให้คุณไม่ถูกหลอกในการลงทุน อย่าผลีผลามลงทุน ไม่ว่าจะมาจากช่องทางใดหรือแอปพลิเคชั่นไหน
ผลตอบแทนสูงเกินจริง รับประกันว่าได้แน่ ๆ อ้างคนมีชื่อเสียง เร่งรัดให้รีบตัดสินใจ ตรวจสอบธุรกิจไม่ได้ บอกว่าได้รับอนุญาต อ้างสินทรัพย์เข้าใจยาก ถ้าเจอแบบนี้ อย่าเพิ่งหลงเชื่อ
ปลอมโปรไฟล์มาเล่นกับความรู้สึก แช็ตคุยในเชิงรักใคร่ เมื่อเหยื่อตายใจ ก็มาชวนลงทุนเฉย มาแบบนี้อย่าหลงเชื่อเด็ดขาด
ชวนลงทุนหลักพัน ได้ปันผลหลักหมื่นต่อเดือน และแอบอ้าง ก.ล.ต. < เชื่อจริง ๆ หรือว่าจะได้กำไรหลักหมื่นในช่วงเวลาอันสั้น มาจับสังเกตรูปแบบการชักชวนให้ลงทุนที่เข้าข่ายหลอกลวงกัน