เกี่ยวกับ ก.ล.ต.
รู้จักการลงทุน
ทำไมต้องลงทุน
พลังดอกเบี้ยทบต้น
การออม
พลังดอกเบี้ยทบต้น
การออม
ลงทุนตามช่วงชีวิต
นักเรียน/นักศึกษา
มนุษย์เงินเดือน
อาชีพอิสระ
หัวหน้าครอบครัว
แต่งงาน
มีลูก
หย่าร้าง
เจ็บป่วย
ผู้หญิง
ก่อนเกษียณ
วัยเกษียณ
มรดก
นักเรียน/นักศึกษา
มนุษย์เงินเดือน
อาชีพอิสระ
หัวหน้าครอบครัว
แต่งงาน
มีลูก
หย่าร้าง
เจ็บป่วย
ผู้หญิง
ก่อนเกษียณ
วัยเกษียณ
มรดก
วิธีหาเงินมาลงทุน
จัดการเงิน
จัดการหนี้
จัดการภาษี
จัดการเงิน
จัดการหนี้
จัดการภาษี
เตรียมพร้อมก่อนลงทุน
วางแผนลงทุน
วางแผนลงทุน
ผู้ให้บริการการลงทุน
ผู้ขายผลิตภัณฑ์การลงทุน
บุคลากรในตลาดทุน
ผู้ให้บริการออกแบบการลงทุน (Wealth Advisor)
ผู้ขายผลิตภัณฑ์การลงทุน
บุคลากรในตลาดทุน
ผู้ให้บริการออกแบบการลงทุน (Wealth Advisor)
ดาวน์โหลด หนังสือ รู้ไว้สักนิดให้ชีวิต "ติดบวก"
ดาวน์โหลด สมุดจดบัญชีรายรับ-รายจ่าย
แบบประเมินความเสี่ยงที่ยอมรับได้
เครื่องมือคำนวณเงิน
ตรวจสอบสุขภาพทางการเงิน
ผลิตภัณฑ์การลงทุน
รู้จักผลิตภัณฑ์ก่อนลงทุน
เงินฝาก
ตราสารหนี้
ตราสารทุน
กองทุนรวม
ตราสารอนุพันธ์
การระดมทุนแบบคราวด์ฟันดิง
สินทรัพย์ดิจิทัล
ประกัน
การลงทุนอย่างยั่งยืน
เงินฝาก
ตราสารหนี้
ตราสารทุน
กองทุนรวม
ตราสารอนุพันธ์
การระดมทุนแบบคราวด์ฟันดิง
สินทรัพย์ดิจิทัล
ประกัน
การลงทุนอย่างยั่งยืน
ความรู้การลงทุน
Metaverse โลกเสมือนกับสินทรัพย์ดิจิทัล
"กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ" หนึ่งในกลไกสำคัญสร้างความมั่นคงระบบบำนาญไทย
5 รูปแบบการชักชวนลงทุนที่ต้องระวัง
กองทุนรวม..มีค่าฟีอะไรบ้าง พร้อมวิธีประหยัด..อย่างง่าย
หุ้นกู้ด้อยสิทธิลักษณะคล้ายทุน
5 ข้อควรระวังการใช้ตังค์หลังเกษียณ
ลงทุนในหุ้นกู้ต้องดูอะไร ?
“SEC Bond Check” ตัวช่วยลงทุนหุ้นกู้
เจาะลึกการลงทุนใน 'Term Fund'
รู้ก่อนลงทุนกับกองทุน SSF
Metaverse โลกเสมือนกับสินทรัพย์ดิจิทัล
"กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ" หนึ่งในกลไกสำคัญสร้างความมั่นคงระบบบำนาญไทย
5 รูปแบบการชักชวนลงทุนที่ต้องระวัง
กองทุนรวม..มีค่าฟีอะไรบ้าง พร้อมวิธีประหยัด..อย่างง่าย
หุ้นกู้ด้อยสิทธิลักษณะคล้ายทุน
5 ข้อควรระวังการใช้ตังค์หลังเกษียณ
ลงทุนในหุ้นกู้ต้องดูอะไร ?
“SEC Bond Check” ตัวช่วยลงทุนหุ้นกู้
เจาะลึกการลงทุนใน 'Term Fund'
รู้ก่อนลงทุนกับกองทุน SSF
E-Book คู่มือความรู้การลงทุนในกองทุนรวม
E-Book เรื่องน่ารู้เมื่อลงทุนตราสารหนี้
ผลิตภัณฑ์การลงทุนออกใหม่
เปรียบเทียบกองทุนรวม
ปกป้องการลงทุน
สิทธิของผู้ลงทุน
ผู้ถือหุ้น
ผู้ถือหน่วยลงทุน
ผู้ถือหุ้นกู้
ผู้ถือหุ้น
ผู้ถือหน่วยลงทุน
ผู้ถือหุ้นกู้
รู้ทันกลโกง
ปั่นหุ้น หุ้นปั่น
แชร์ลูกโซ่
หุ้นหาย
บริษัทที่ไม่ได้รับอนุญาตชวนลงทุน
สัญญาณเตือนภัย
ภูมิคุ้มกันผู้ลงทุน
ปั่นหุ้น หุ้นปั่น
แชร์ลูกโซ่
หุ้นหาย
บริษัทที่ไม่ได้รับอนุญาตชวนลงทุน
สัญญาณเตือนภัย
ภูมิคุ้มกันผู้ลงทุน
สิทธิผู้ลงทุนควรทราบหากเกิดความเสียหาย
การบังคับใช้กฎหมายในตลาดทุนไทย
การฟื้นฟูกิจการ
การบังคับใช้กฎหมายในตลาดทุนไทย
การฟื้นฟูกิจการ
ร้องเรียน แจ้งเบาะแส
SEC Check First
ค้นหาผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตและรายชื่อผู้ให้บริการในตลาดทุน
Investor Alert
รายชื่อผู้ที่มิใช่ผู้ประกอบธุรกิจภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต.
ลงทุนเพื่อเกษียณสุข
ทำไมต้องเตรียมตัวเกษียณ
ต้องมีเท่าไหร่ถึงจะพอใช้ในวัยเกษียณ
แหล่งที่มาเงินออมเพื่อเกษียณ
กองทุนประกันสังคม (ชราภาพ)
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD)
กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF)
ประกันชีวิต
กองทุนประกันสังคม (ชราภาพ)
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD)
กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF)
ประกันชีวิต
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
มุมสมาชิก PVD
มุมนายจ้าง
มุมคณะกรรมการกองทุน
มุมสมาชิก PVD
มุมนายจ้าง
มุมคณะกรรมการกองทุน
เงินที่ต้องมีในวัยเกษียณ
Home
รู้จักการลงทุน
วิธีหาเงินมาลงทุน
จัดการหนี้
รู้ก่อนเป็นหนี้
รู้ก่อนเป็นหนี้
เมื่อติดกับดักหนี้
ตัวช่วยแก้หนี้ล้น
Share
Print
รู้ก่อนเป็นหนี้
04 ตุลาคม 2562
อ่าน นาที
Page Content
รู้ก่อนเป็นหนี้
ภาระหนี้ต่อเดือนไม่ควรเกิน 30% ของรายได้ ส่วนคนกู้บ้านอาจขยับเป็น 50% ของรายได้ แต่แนะนำไม่สร้างหนี้อื่นเพิ่ม และหากมีรายได้พิเศษ เช่น โบนัส เข้ามาทยอยโปะหนี้เพื่อลดเงินต้น ทำให้ดอกเบี้ยน้อยลง
สำรวจว่ามีหนี้อะไรบ้าง ดอกเบี้ยคำอัตราเท่าไหร่ ค่างวดผ่อนในแต่ละเดือน หากสามารถรวมหนี้เล็ก ๆ ทั้งหมดเป็นก้อนเดียวได้จะดีมาก เพราะควบคุมและบริหารง่ายกว่า
มีวินัยชำระหนี้ ตรงเงื่อนไข ตรงเวลา แนะนำให้เคลียร์หนี้ที่ดอกเบี้ยสูงสุดก่อน อย่างบัตรเงินสด สินเชื่อส่วนบุคคล (28%) บัตรเครดิต (18%) สินเชื่อรถยนต์ (5-6%) สินเชื่อบ้าน (เฉลี่ย 3 ปีแรก 3-4%)
หาโอกาสรีไฟแนนซ์ ไปยังสถาบันการเงินที่ดอกเบี้ยถูกกว่า เพื่อลดภาระดอกเบี้ยลง เห็นบ่อยในสินเชื่อบ้าน และรีไฟแนนซ์สินเชื่อบัตรเครดิต ด้วยสินเชื่อบุคคลดอกเบี้ยต่ำกว่า 18% เพื่อจัดการหนี้ในที่เดียว
อย่าก่อหนี้ซ้อนหนี้ เพราะเป็นต้นตอของการติดกับดักหนี้พอกพูน เกิดจากพฤติกรรมหาเงินชำระหนี้ผิดวิธี เช่น การกดบัตรเงินสดมาจ่ายค่างวดผ่อนบ้าน หนี้เก่าไม่หายได้หนี้ใหม่ดอกเบี้ยแพงเพิ่มขึ้นอีก
ตรวจสอบหลักฐานใบแจ้งหนี้และใบเสร็จการชำระเงินเสมอ หากความผิดพลาดควรรีบติดต่อเจ้าหนี้
ใช้บัตรเครดิตได้เมื่อพร้อมจ่ายเต็ม ซึ่งบัตรเครดิตมีโปรโมชั่นน่าสนใจหากใช้อย่างชาญฉลาดชำระเต็มจะได้ประโยชน์เต็มที่ ตรงข้าม หากจ่ายเต็มไม่ไหว เลือกจ่ายขั้นต่ำ ส่วนลดที่ได้คงไม่คุ้มกับดอกเบี้ย 18% ต่อปี
หลีกเลี่ยงหนี้นอกระบบ เพราะดอกเบี้ยสูงมาก และยังเสี่ยงถูกทวงหนี้โหด ขู่กรรโชก ประจาน หรือทำร้ายหากเป็นหนี้อยู่ ควรย้ายมากู้ในระบบแทน
คำนวณ
กู้ซื้อบ้านแบบไหนให้เหมาะกับคุณที่สุด
www.จัดการเงินเป็น.com/house
คำนวณ
ผ่อนรถยังไง ดอกเบี้ยน้อยสุด
www.จัดการเงินเป็น.com/car
Tag :
อ่านเพิ่มเติม
เรื่องที่เกี่ยวข้อง